คำสั่ง
SQL GROUP BY
คำสั่ง SQL มีฟังก์ชั่น (function)
ที่ใช้จัดการเกี่ยวกับตัวเลข เช่น
การหาค่าผลรวม หรือ การหาค่าเฉลี่ย ตัวอย่างฟังก์ขัน
การหาค่าผลรวม หรือ การหาค่าเฉลี่ย ตัวอย่างฟังก์ขัน
- AVG การหาค่าเฉลี่ย
- COUNT การนับจำนวน
- MAX การหาค่าสูงสุด
- MIN การหาค่าต่ำสุด
- SUM การผาผลรวม
- COUNT การนับจำนวน
- MAX การหาค่าสูงสุด
- MIN การหาค่าต่ำสุด
- SUM การผาผลรวม
รูปแบบคำสั่ง
1.
SELECT "function type"("column_name") FROM "table_name"
ตาราง Store_Information
store_name
|
Sales
|
Date
|
Los Angeles
|
$1500
|
Jan-05-1999
|
San Diego
|
$250
|
Jan-07-1999
|
Los Angeles
|
$300
|
Jan-08-1999
|
Boston
|
$700
|
Jan-08-1999
|
การใช้งาน
1.
SELECT SUM(Sales) FROM Store_Information
ผลลัพธ์ที่ได้
SUM(Sales)
|
$2750
|
คำอธิบาย
$2750 แสดงถึงผลรวมของรายการขาย เกิดจาก: $1500 + $250 + $300 + $700.
คำสั่ง SQL BETWEEN
1.
SELECT "column_name"
2.
FROM "table_name"
3.
WHERE "column_name" BETWEEN 'value1' AND 'value2'
ตาราง Store_Information
store_name
|
Sales
|
Date
|
Los Angeles
|
$1500
|
Jan-05-1999
|
San Diego
|
$250
|
Jan-07-1999
|
San Francisco
|
$300
|
Jan-08-1999
|
Boston
|
$700
|
Jan-08-1999
|
การใช้งาน
1.
SELECT *
2.
FROM Store_Information
3.
WHERE Date BETWEEN 'Jan-06-1999' AND 'Jan-10-1999'
ผลลัพธิ์ที่ได้
store_name
|
Sales
|
Date
|
San Diego
|
$250
|
Jan-07-1999
|
San Francisco
|
$300
|
Jan-08-1999
|
Boston
|
$700
|
Jan-08-1999
|
คำสั่ง SQL HAVING
HAVING ใช้เมื่อมีการใช้ฟังก์ชัน ในคำสั่ง SQL เช่น SUM หรือ AVG เป็นต้น โดยเมื่อการกำหนดเงื่อนไข จึงจำเป็นต้องใช้ HAVING แทน WHERE เพื่อคงคุณสมบัติของฟังก์ชันไว้ คำสั่ง HAVING อาจจะมีคำสั่ง GROUP
BY หรือไม่มีรวมอยู่ด้วยก็ได้
รูปแบบคำสั่ง
1.
SELECT "column_name1", SUM("column_name2") FROM "table_name"
2.
GROUP BY "column_name1" HAVING (arithmetic function condition)
ตาราง Store_Information
store_name
|
Sales
|
Date
|
Los Angeles
|
$1500
|
Jan-05-1999
|
San Diego
|
$250
|
Jan-07-1999
|
Los Angeles
|
$300
|
Jan-08-1999
|
Boston
|
$700
|
Jan-08-1999
|
การใช้งาน
1.
SELECT store_name, SUM(sales) FROM Store_Information GROUP BY store_name HAVING SUM(sales) > 1500
ผลลัพธ์ที่ได้
store_name
|
SUM(Sales)
|
Los Angeles
|
$1800
|
คำสั่ง SQL COUNT
ฟังก์ชัน COUNT เป็นฟังก์ชันทางคณิตศาสตร์หนึ่งที่ใช้ในหาจำนวนแถว
ที่มีอยู่ในตาราง
ที่มีอยู่ในตาราง
รูปแบบคำสั่ง
1.
SELECT COUNT("column_name") FROM "table_name"
ตาราง Store_Information
store_name
|
Sales
|
Date
|
Los Angeles
|
$1500
|
Jan-05-1999
|
San Diego
|
$250
|
Jan-07-1999
|
Los Angeles
|
$300
|
Jan-08-1999
|
Boston
|
$700
|
Jan-08-1999
|
การใช้งาน
1.
SELECT COUNT(store_name) FROM Store_Information
ผลลัพธ์ที่ได้
Count(store_name)
|
4
|
ฟังก์ชัน COUNT และ DISTINCT สามารถที่จะใช้ร่วมกันในคำสั่ง SQL
เพื่อให้ได้จำนวนรายการข้อมูลที่แตกต่างกัน ตัวอย่าง ถ้าเราต้องการหาจำนวน
ของร้านค้าที่ไม่ซ้ำกันในตาราง
เพื่อให้ได้จำนวนรายการข้อมูลที่แตกต่างกัน ตัวอย่าง ถ้าเราต้องการหาจำนวน
ของร้านค้าที่ไม่ซ้ำกันในตาราง
การใช้งาน
1.
SELECT COUNT(DISTINCT store_name) FROM Store_Information
ผลลัพธ์ที่ได้
Count(DISTINCT store_name)
|
|||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||
3
|
|||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||
คำสั่ง SQL ORDER BY
1.
SELECT "column_name"
2.
FROM "table_name"
3.
[WHERE "condition"]
4.
ORDER BY "column_name" [ASC, DESC]
ASC และ DESC คือรูปแบบการเรียงลำดับ
นอกจากนี้ยังสามารถกำหนด
การจัดเรียงได้มากกว่า 1 คอลัมน์ ดังต่อไปนี้
1.
ORDER BY "column_name1" [ASC, DESC], "column_name2" [ASC, DESC]
ตาราง Store_Information
การใช้งาน
1.
SELECT store_name, Sales, Date
2.
FROM Store_Information
3.
ORDER BY Sales DESC
ผลลัพธิ์ที่ได้
นอกจากนี้เราสามารถใช้ตัวเลขกำหนดแทน
คอลัมน์ได้ เช่น
1.
SELECT store_name, Sales, Date
2.
FROM Store_Information
3.
ORDER BY 2 DESC
คำสั่ง SQL LIKE
1.
SELECT "column_name"
2.
FROM "table_name"
3.
WHERE "column_name" LIKE {PATTERN}
PATTERN คือรูปแบบของคำที่ต้องการคำหนด ดังตัวอย่างต่อไปนี้
ตาราง Store_Information
การใช้งาน
1.
SELECT *
2.
FROM Store_Information
3.
WHERE store_name LIKE '%AN%'
ผลลัพธิ์ที่ได้
|